ผ่าตัดหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท จ.พิษณุโลก

ทำความรู้จักเทคโนโลยีรักษา “หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท”

การผ่าตัดเอาหมอนรองกระดูกออก มีหลายวิธี ดั้งเดิมคือ การผ่าตัดแบบเปิดแผลที่กลางหลัง ขนาด 6-10 เซนติเมตร ขึ้นอยู่กับความอ้วนผอม ความหนาของชั้นไขมันที่หลังของผู้ป่วย เมื่อเปิดแผลแล้วจึงทำการเลาะเอากล้ามเนื้อรอบๆ กระดูกสันหลังตรงตำแหน่งที่ตรงกับหมอนรองกระดูกที่เป็นก้อนปัญหาออกจากกระดูกสันหลัง แล้วใช้เครื่องถ่างกล้ามเนื้อไว้จากนั้นก็เปิดช่องที่กระดูกสันหลังตรงตำแหน่งที่ต้องการ เพื่อเข้าไปในช่องไขสันหลัง เมื่อพบเส้นประสาทแล้วจึงใช้เครื่องมือดันเส้นประสาทไปตรงกลางเพื่อให้เห็นส่วนของหมอนรองกระดูกที่ยื่นหรือแตกออกมากดทับเส้นประสาท จากนั้นใช้เครื่องมือ คีบเอาส่วนที่กดทับออก แล้วจึงเย็บปิดแผล วิธีการนี้ผู้ป่วยจะต้องนอนโรงพยาบาลประมาณ 5-7 วัน และต้องใช้ระยะเวลาในการพักฟื้นสภาพร่างกายประมาณ 4-6 สัปดาห์ ต่อมามีการพัฒนามาเป็นการผ่าตัดหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ด้วยกล้อง Microscope

สถิติการผ่าตัดที่โรงพยาบาลกรุงเทพพิษณุโลก

ผ่าตัด Spine ทั้งหมดปี 2018-2024 (June ) = 117 ราย
สามารถลุกเดินได้หลังผ่าตัด
จุดเด่นของผู้ป่วยผ่าตัดหลังที่ BPL

  1. ผ่าตัดโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง และเครื่องมือที่ทันสมัย
  2. ทีมแพทย์เฉพาะทางด้านกระดูกสันหลังประชุมปรึกษาก่อนผ่าตัดทุกราย
  3. ได้รับการดูแลจากทีมสหสาขาวิชาชีพตั้งแต่ก่อนผ่าตัดจนกลับบ้าน
  4. ติดตามคุณภาพชีวิตหลังผ่าตัดระยะยาวพร้อมคำปรึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญจนถึง 1 ปี
  5. ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาไม่พบการติดเชื้อหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง

ผ่าตัด Spine ทั้งหมดปี 2018-2024 (June ) =  117 ราย

สามารถลุกเดินได้หลังผ่าตัด

จุดเด่นของผู้ป่วยผ่าตัดหลังที่ BPL

  1. ผ่าตัดโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง และเครื่องมือที่ทันสมัย
  2. ทีมแพทย์เฉพาะทางด้านกระดูกสันหลังประชุมปรึกษาก่อนผ่าตัดทุกราย
  3. ได้รับการดูแลจากทีมสหสาขาวิชาชีพตั้งแต่ก่อนผ่าตัดจนกลับบ้าน
  4. ติดตามคุณภาพชีวิตหลังผ่าตัดระยะยาวพร้อมคำปรึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญจนถึง 1 ปี
  5. ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาไม่พบการติดเชื้อหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง

 

 

แหล่งที่มา :

บทความอื่น ๆ ที่น่าสนใจ